year2560 - page 37

ธั
มมะจั
กกั
ปปะวั
ตตะนะสุ
ตตั
พระอานนทเถรพุ
ทธอุ
ปั
ฏฐาก ได้
กล่
าวแสดงต่
อคณะสงฆ์
ในการทำ
�สั
งคายนาครั้
งที่
๑ ว่
าดั
งนี้
ข้
าพเจ้
าได้
ฟั
งจากพระผู้
มี
พระภาคเจ้
าอย่
างนี้
ว่
า ในสมั
ยหนึ่
งพระผู้
มี
พระภาคเจ้
าเสด็
จประทั
บยั
บยั้
อยู่
ที่
ป่
าอิ
สิ
ปตนมฤคทายวั
นใกล้
เมื
องพาราณสี
• ในกาลครั้
งนั้
นแลพระผู้
มี
พระภาคเจ้
าได้
ตรั
สเตื
อนสติ
เหล่
าภิ
กษุ
ปั
ญจวั
คคี
ย์
ให้
ตั้
งใจฟั
งและพิ
จารณา
ตามพระดำ
�รั
สของพระองค์
อย่
างนี้
ว่
า ฯ
• ดู
ก่
อนภิ
กษุ
ทั้
งหลาย บรรพชิ
ตไม่
ควรปฏิ
บั
ติ
ให้
หนั
กไปในส่
วนที่
สุ
ด ๒ อย่
าง คื
• การประพฤติ
ปฏิ
บั
ติ
ตนเพื่
อแสวงหาความสุ
ขอยู่
ในรู
ป เสี
ยง กลิ่
น รส สั
มผั
ส ที่
น่
ารั
กน่
าปรารถนา
ซึ่
งเป็
นธรรมอั
นเลว เป็
นเหตุ
ให้
ต้
องมี
บ้
านเรื
อน เป็
นธรรมของคนผู้
ครองเรื
อนผู้
หนาไปด้
วยกิ
เลส
ไม่
ใช่
ธรรมอั
นจะนำ
�จิ
ตใจออกจากกิ
เลส ไม่
เป็
นประโยชน์
ต่
อการปฏิ
บั
ติ
เพื่
อให้
จิ
ตหลุ
ดพ้
นจากกิ
เลส
เครื่
องรั
ดรึ
งใจทั้
งหลาย นี่
อย่
างหนึ่
• และอี
กอย่
างหนึ่
ง คื
อการประพฤติ
ปฏิ
บั
ติ
ด้
วยการทรมานร่
างกายให้
ได้
รั
บความลำ
�บาก ซึ่
งมี
แต่
ทำ
�ให้
ใจเป็
นทุ
กข์
ทรมานอย่
างเดี
ยว ไม่
เป็
นทางนำ
�จิ
ตใจออกจากกิ
เลส และไม่
เป็
นประโยชน์
ต่
อการ
ปฏิ
บั
ติ
เพื่
อให้
จิ
ตหลุ
ดพ้
นจากกิ
เลสเครื่
องรั
ดรึ
งใจทั้
งหลายฯ (หรื
ออี
กนั
ยหนึ่
งคื
อ เร่
งหั
กโหมปฏิ
บั
ติ
ธรรมจนเกิ
นกำ
�ลั
ง เพื่
อหวั
งจะได้
บรรลุ
มรรคผลเร็
วๆ)
• ดู
ก่
อนภิ
กษุ
ทั้
งหลาย ตถาคตได้
รู้
ข้
อปฏิ
บั
ติ
อั
นเป็
นทางสายกลาง โดยไม่
เข้
าไปใกล้
ส่
วนที่
สุ
ด ๒ อย่
าง
นั้
นแล้
ว ด้
วยปั
ญญาอั
นยิ่
• ข้
อปฏิ
บั
ติ
อั
นเป็
นทางสายกลางนั้
น สามารถทำ
�ดวงตาคื
อปั
ญญา ทำ
�ญานเครื่
องรู้
ให้
เป็
นไปเพื่
ใจสงบระงั
บจากกิ
เลส เพื่
อความรู้
ยิ่
ง เพื่
อความรู้
ดี
และเพื่
อทำ
�ให้
กิ
เลสดั
บไปจากจิ
ตคื
อเข้
าสู่
พระ
นิ
พพาน ฯ
• ดู
ก่
อนภิ
กษุ
ทั้
งหลาย ข้
อปฏิ
บั
ติ
อั
นเป็
นทางสายกลาง ซึ่
งสามารถทำ
�ดวงตาคื
อปั
ญญา ทำ
�ญาน
เครื่
องรู้
ให้
เป็
นไปเพื่
อใจสงบระงั
บจากกิ
เลส เพื่
อความรู้
ยิ่
ง เพื่
อความรู้
ดี
และเพื่
อให้
กิ
เลสดั
บไป
จากจิ
ตคื
อเข้
าสู่
พระนิ
พพานที่
ตถาคตรู้
แล้
วด้
วยปั
ญญาอั
นยิ่
งนั้
น คื
อการปฏิ
บั
ติ
อย่
างไร?
• ข้
อปฏิ
บั
ติ
อั
นเป็
นทางสายกลางนี้
คื
อ ทางนำ
�ไปสู่
ความไกลจากกิ
เลสเครื่
องรั
ดรึ
งใจทั้
งหลาย
มี
๘ อย่
างฯ
• ข้
อปฏิ
บั
ติ
เหล่
านี้
คื
• ปั
ญญาอั
นเห็
นชอบ (คื
อเห็
นอริ
ยสั
จ)
• ความดำ
�ริ
ชอบ (คิ
ดจะออกจากกาม ไม่
คิ
ดอาฆาตพยายาท ไม่
คิ
ดเบี
ยดเบี
ยน)
• วาจาชอบ (ไม่
พู
ดโกหก ไม่
พู
ดคำ
�หยาบ ไม่
พู
ดคำ
�ส่
อเสี
ยด ไม่
พู
ดเพ้
อเจ้
อเหลวไหล)
• การงานชอบ (เว้
นจากการทุ
จริ
ต เช่
น โกงแรงงานเขา เป็
นต้
น และการทำ
�งานที่
ไม่
มี
โทษ)
• การเลี้
ยงชี
วิ
ตชอบ (หากิ
นโดยไม่
ผิ
ดกฏหมาย ไม่
ผิ
ดศี
ล ไม่
ผิ
ดธรรม ไม่
ผิ
ดประเพณี
)
• ความเพี
ยรชอบ (เพี
ยรละชั่
ว ประพฤติ
ดี
เพื่
อให้
มี
คุ
ณธรรมประจำ
�ใจ และ เพื่
อให้
ได้
คุ
ณธรรม
สู
งยิ่
งๆ ขึ้
นไป)
• การระลึ
กชอบ (ระลึ
กนึ
กถึ
งอนุ
สสติ
๑๐ ประการ มี
พระนิ
พพานเป็
นที่
สุ
ด และระลึ
กใน
มหาสติ
ปั
ฏฐาน ๔)
• การตั้
งจิ
ตไว้
ชอบ (การทำ
�สมาธิ
ให้
อารมณ์
ตั้
งมั่
นในอนุ
สสติ
๑๐ ประการนั้
น) ฯ (หรื
อกล่
าว
โดยย่
อ มรรค ๘ ประการนี้
คื
อ ศี
ล สมาธิ
ปั
ญญา)
(๙)
1...,27,28,29,30,31,32,33,34,35,36 38,39,40,41,42,43,44,45,46,47,...56
Powered by FlippingBook