หลักการปฎิบัติธุดงควัตร

70 หลักการปฏิบัติธุดงค์ ท่านรู้สึกสลดใจที่ถูกพระบรมศาสดาต�ำหนิอย่างนั้น จึงคิด ว่าเราถูกพระพุทธองค์ทรงต�ำหนิ เพราะเรื่ องสัทธิ วิ หาริ ก ดังนั้ น เรา จะอาศัยสัทธิวิหาริกนี่แหละ ยังพระบรมศาสดาให้ ตรัสสรรเสริญ เราให้ได้ จากนั้นท่านได้กราบทูลลาพระผู้มีพระภาคพาสัทธิวิหาริ กกลับสู่ที่พัก ตั้งใจบ�ำเพ็ญเพียรเจริญสมถวิปัสสนากรรมฐาน ไม่ นานนักก็ได้ บรรลุพระอรหัตผล หมดกิ เลสอาสวะ เป็นพระอเสข บุคคลในพระพุทธศาสนา เมื่อส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว ท่านได้ สมาทานธุดงควัตร ประพฤติ ปฏิ บัติ ใน “ธุดงคคุณ” ครบทั้ ง ๑๓ ข้อ ธุดงควัตรเหล่ านี้ พระพุทธองค์ ทรงบัญญัติ ไว้ ก็ด้ วยมี พุทธประสงค์ เพื่ อเป็นเครื่ องขัดเกลากิ เลสเครื่ องเศร้าหมองที่ หมักดองอยู่ในจิ ต เป็น เหตุให้คิ ดหมกมุ่นแต่ในเรื่ องกามคุณ เป็นคนใจแคบมักมากเห็นแก่ตัว เมื่ อปฏิ บัติ ในธุดงควัตรแล้ ว กิ เลสก็จะเบาบางลง เป็นคนมักน้ อยสันโดษ ไม่ มักมากด้ วยลาภสักการะ ไม่ เห็นแก่ ความสุข อันเกิ ดจากกามคุณทั้ ง หลาย และธุดงควัตรเหล่านี้ ก็ไม่จ�ำเป็นต้องปฏิ บัติ ทุกข้อ ผู้ใดมี ความ สามารถความพอใจที่ จะปฏิ บัติ ในข้อใด ก็สมาทานเฉพาะข้อนั้ น หรื อ มากกว่ าหนึ่ งข้ อก็สุดแต่ ความสมัครใจ เพื่ อเป็นการให้ โอกาสแก่ ผู้ ปฏิ บัติ เป็นต้นบัญญัติเรื่องตั้งพระอุปัชฌาย์ พระพุทธองค์ ทรงอาศัยกรณี ของพระอุปเสนะที่ ตั้ งตนเป็นอุปัชฌาย์ ขณะที่ บวชได้เพี ยงพรรษาเดี ยวเป็นเหตุ ทรงบัญญัติ สิ กขาบทเกี่ ยวกับ การที่ ภิ กษุจะเป็นอุปัชฌาย์ได้ จะต้องมี พรรษาตั้ งแต่ ๑๐ พรรษาขึ้ นไป

RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz