หลักการปฎิบัติธุดงควัตร
หลักการปฏิบัติธุดงค์ 65 ฝ่ ายพระมหากัสสป ก็ไม่ ได้ มี ใจฟูขึ้ น.. ว่ าบัดนี้ เราได้ ผ้ า ที่ พระพุทธเจ้ าทรงใช้ แต่ เราควรจะท�ำสิ่ งใดให้ ยิ่ งขึ้ นไป แล้ วก็ สมาทาน ธุดงค์คุณ ๑๓ ในที่ใกล้พระพุทธองค์ ท่านได้อุปสมบท เพี ยง ๗ วันเท่านั้ น พอถึ งวันที่ ๘ ก็ได้ส�ำเร็จ พระอรหันต์ พร้อมด้วย ปฏิสัมภิ ทาญาณ ต่อมาองค์สมเด็จพระศาสดาจารย์ จึงได้ทรงยกย่องว่า เป็น ผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้ถือธุดงค์ และทรงสรรเสริญคุณธรรม ของท่านอี กหลายประการ เช่น ๑. มีธรรมเป็นเครื่องอยู่เสมอด้วยพระองค์ และเป็นผู้ มักน้อยสันโดษ ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายให้ถือเอาเป็นตัวอย่าง ๒. กัสสปเข้าไปใกล้ตระกูล แล้วชักกายและใจห่าง ประพฤติ เป็นคนใหม่ ไม่คุ้นเคยเป็นนิ จ ไม่คะนองกายวาจาใจในสกุลเป็นนิ จ จิ ตไม่ข้องอยู่ในสกุลเหล่านั้น ตั้งอารมณ์จิ ตเป็นกลางว่า ผู้ใคร่ลาภก็ จงได้ลาภ ผู้ใคร่บุญก็จงได้บุญ ตนได้ลาภมี ใจฉันใด ผู้อื่ นก็มี ใจฉันนั้น ๓. กัสสปมี จิ ตประกอบไปด้วย เมตตา กรุณา แสดงธรรมแก่ ผู้อื่ น ดังนี้ .
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz