หลักการปฎิบัติธุดงควัตร
64 หลักการปฏิบัติธุดงค์ องค์สมเด็จพระบรมครูจึงตรัสว่า “กัสสป.. ผ้าบังสุกุลผืน นี้ ในวันที่เราถือเอามานั้น ได้เกิดแผ่นดินไหวใหญ่ เพราะเป็น ผ้าที่ เคยใช้ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายมาแล้ว ผู้ที่ มี คุณธรรม เล็กน้อยไม่อาจใช้ได้ ส่วนผู้ที่ มี ชาติ ถื อบังสุกุล ซึ่ งสามารถ จะท�ำข้อปฏิ บัติ อันนี้ ให้เต็มได้ จึ งจะใช้ได้” ตรัสดังนี้ แล้ ว ก็ทรงแลกเปลี่ ยนผ้ าสังฆาฏิ กับพระมหา กัสสปเถระ สมเด็จพระผู้ มี พระภาคเจ้ าทรงห่ มผ้ าของพระมหา กัสสป ส่วนพระเถระก็ห่มผ้าของพระพุทธองค์ ในคราวนั้นแผ่นดิน อันใหญ่ ซึ่งไม่มีจิตวิญญาณ ก็ได้หวั่นไหวจนกระทั่งน�้ ำรองข้างล่าง ปานประหนึ่งจะกราบทูลว่ า.. “การที่พระองค์ ไม่ เคยทรงประทาน ผ้ าของพระองค์ ให้ แก่ พระสาวกนี้ ชื่อว่ าได้ กระท�ำสิ่ งที่กระท�ำได้ ยาก ข้าพระองค์ ไม่ อาจทรงคุณความดีของพระองค์ไว้ได้ ฉะนั้น” จี วรของพระมหาเถระนั้ น อรรถกถากล่าวว่า “จี วรนี้ ที่ เราห่ม ทาสีชื่อ “ปุณณะ” ทิ้งไว้ในป่าช้าผีดิบ เราเข้าไปสู่ป่าช้านั้น อันมีตัว สัตว์กระจายอยู่ ประมาณทะนานหนึ่ ง ก�ำจัดตัวสัตว์เหล่านั้ นแล้ว ตั้ ง อยู่ในมหาอริ ยวงศ์ ถื อเอา.. ในวันที่ เราถื อเอาจี วรนี้ มหาปฐพี ในหมื่ น จักรวาลส่งเสี ยงสั่นสะเทื อน อากาศนั้ นส่งเสี ยง “ตฏะ.. ตฏะ” เทวดา ในจักรวาลได้ ให้สาธุการว่ า ภิกษุผู้ ถือเอาจีวรนี้ ควรเป็นผู้ ทรงผ้า บังสุกุลเป็นวัตรตามธรรมชาติ นั่งอาสนะเดี ยวเป็นวัตรตามธรรมชาติ เที่ยวไปตามล�ำดับตรอกเป็นวัตรตามธรรมชาติ ท่านจักอาจท�ำให้ สมควรแก่จีวรนี้ ได้ ดังนี้ ”
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz