หลักการปฎิบัติธุดงควัตร

หลักการปฏิบัติธุดงค์ 51 ๓. เราจักระวังมื อเท้าด้วยดี , จักมี ตาทอดลง, จักไม่ หัวเราะ, จักไม่พูดเสี ยงดัง, จักไม่โคลงกาย, จักไม่ไกวแขน เป็นต้ น ทั้ งหมดนี้ ท่ านหมายเอาอาการรักษา “กาย วาจา” ให้ เรียบร้อย คือ ไม่คะนองมือคะนองเท้า ไม่มองเลิ่กลั่ก ไม่หัวเราะ สรวลเสเฮฮา หรื อกระเซ้ าเย้ าแหย่ กัน จะยิ้ มหรื อหัวเราะก็แต่ เพียงเบา ๆ เวลาจะพูดกันก็พูดเรื่องเฉพาะกิจจริง ๆ อย่าใช้เสียง ดังจนเกินไป เมื่อหมดธุระแล้ว ก็พยายามปลีกตัวไปอยู่ แต่ผู้ เดียว ไม่คลุกคลีกับหมู่คณะ จะเป็นเพื่อนหรือญาติมิตรที่มาด้วย กัน (ชั่วคราว) เวลาเดิ นก็เดิ นโดยอาการปกติ ไม่โคลงกาย และแกว่ง แขนจนเกินพอดี ข้อสารูปนี้ น�ำมาโดยเพียงแค่นี้ พอที่ฆราวาสจะ น�ำมาประพฤติปฏิบัติได้ในขณะที่บวชพราหมณ์ ชายและหญิง เพื่อ ให้ สมกับที่ เป็นพระเช่ นกัน ตามที่ พระพุทธเจ้ าทรงยกย่ องว่ าเป็น “พระโยคาวจร” นั่นเอง หมวดโภชนปฏิสังยุต หมวดนี้ จะขอน�ำมาโดยย่ อ พอที่ จะปฏิ บัติ ได้ ดังนี้ ... ๑. ภิ กษุพึ งท�ำความศึ กษาว่า เราจักรับบิ ณฑบาตโดย เคารพ ในข้อนี้ พระองค์ทรงสอนให้แสดงความเอื้ อเฟื้อให้บุคคลผู้ให้ ไม่ใช่รับด้วยการดูหมิ่ น ๒. เราจักแลดูแต่ในบาตร, จักรับแกงพอควรแก่ข้าวสุก, จักฉันบิ ณฑบาตโดยเคารพ, เมื่ อฉันบิ ณฑบาตจักแลดูแต่ในบาตร เป็นต้น ในข้อนี้ ผู้บวชพราหมณ์ทั้ งหลายก็เช่นกัน

RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz