หลักการปฎิบัติธุดงควัตร
หลักการปฏิบัติธุดงค์ 49 บทวิรูปักเข วิรูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมต ตัง เมตตัง ทิ ปาทะเกหิ เม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุป ปะเทหิ เม มา มัง อะปาทะโก หิ งสิ มา มัง หิ งสิ ทิ ปาทะโก มา มัง จะ ตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิ งสิ พะหุปปะโท สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มา กิ ญจิ ปาปะมาคะมา อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพุ มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง ฯ (หมายเหตุ : ก่อนที่จะสวด ๒ บทนี้ ควรตั้ง นะโม ๓ จบ แล้วสวด “อิติปิ โส” ก่อน) เสขิยวัตร หรือข้อวัตรที่ควรศึกษา ส�ำหรับอุบาสกอุบาสิกา ตามที่ ได้เกริ่ นไว้ในตอนแรกแล้วว่า จะแนะน�ำเรื่ อง “ข้อวัตร ที่ควรศึกษา” ในตอนท้าย เพื่อน�ำมาประยุกต์กับ อุบาสกอุบาสิกา ขณะที่ ร่ วมปฏิ บัติ ธุดงค์ เป็นการฝึ กจริ ยามารยาทให้ เรี ยบร้ อย ตามพุทโธวาท เพื่อให้ สมภาคภูมิกับที่พระพุทธเจ้ าทรงยกย่ องว่ า เป็นหนึ่ งในพุทธบริ ษัททั้ ง ๔ ของพระองค์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz