หลักการปฎิบัติธุดงควัตร
หลักการปฏิบัติธุดงค์ 47 “..ขอท่ านที่อยู่ ที่นี้ทั้งหมด บรรดาอมนุษย์ ทั้งหลาย มนุษย์ ทั้งหลาย เทวดาหรือพรหมก็ดีที่รักษาที่นี้ เราขออาศัยสถานที่ท่าน อยู่ เราขอยอมรับนับถื อในท่าน ว่าท่านเป็นผู้มี สิ ทธิ์ ขอท่านได้โปรด คุ้มครองให้เรามีความสุขปลอดภัยจากอันตราย แล้วก็ช่วยส่งเสริม ในการเจริ ญสมณธรรมด้วย..” เมื่ อเข้าไปอยู่แล้วให้สวดเป็นปกติ แต่ถ้าเป็นจ�ำพวกสัตว์เลื้ อย คลาน อันนี้ต้องว่าอีกบทหนึ่ง ซึ่งเป็นบทเมตตาเหมือนกัน คือบท “วิ รูปักเข” ส�ำหรับบรรดาสัตว์ ทั้ งหลาย สัตว์ ที่ ไม่ มี เท้ า สัตว์ มี เท้ าน้ อย สัตว์มี เท้ามาก.. รวมหมด! ส่วนบท “วิปัสสิส” (ที่เขาสวดเวลาท�ำพิธีภาณยักษ์กัน) อัน นี้ไปที่ไหนไม่ควรใช้นะ ถ้าเผลอเมื่อไหร่ เทวดาเขาตีพังเมื่อนั้นแหละ เอาไปเป็นบทขับผี ขับเทวดาไม่ ควรอย่ างยิ่ ง บทที่ เป็นศัตรูกับเขา อย่าใช้ ใช้แต่บทที่ เป็นมิ ตร ที นี้ การปักกลดของพระธุดงค์ จงอย่ าให้ ใกล้ บ้ านเข้ ามา น้ อยกว่า ๑ กิโลเมตร อันนี้ต้ องถือเป็นปกติ เพราะว่ าเวลากลาง คื น ชาวบ้านเขาคุยกัน เราไม่ได้ยิ นเสี ยง เด็กเล็กมันร้อง เราไม่ได้ยิ น เสี ยง เสี ยงจะได้ไม่รบกวน เราจะปฏิ บัติ สมณธรรมได้แบบสงัด แบบ สบาย แล้ วก็ไม่ ห่ างเกิ นไป เวลาเข้ ามาบิ ณฑบาตก็ไม่ ไกลเกิ นไป แล้ วการปักกลดก็ต้ องดูสถานที่ เสี ยก่ อน ว่ าเราควรจะปัก ตรงไหน มันเป็นที่เขาหวงห้ามหรือเปล่า ถ้าที่เขาหวงห้ามก็อย่าปัก เพราะว่าถ้าปักแล้วมันถอนไม่ได้ ปักกลดลงไปแล้ว ฝนจะตก สัตว์ร้าย
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz