หลักการปฎิบัติธุดงควัตร
46 หลักการปฏิบัติธุดงค์ ๔. มรณานุสสติ กรรมฐาน บวกกับ วิ ปัสสนาญาณ ๙ คื อ ข้ อ ๘-๙ (นิ พพิ ทาญาณ-สังขารุเปกขาญาณ) แล้ วมี พระนิ พพานเป็นอารมณ์ ๕. ค่อย ๆ เคาะ สังโยชน์ ๑–๑๐ แต่ให้ถื อสังโยชน์ ๓ เป็นใหญ่ แล้วตัดตัวสุดท้าย คื อ อวิ ชชา สรุปความว่า พอลื มตาปั๊บ.. จับ อานาปา ปั๊บ ! คิ ดถึ งบารมี ๓๐ ทัศ ภาวนา ๆ ๆ จิ ตทรงตัว จิ ตมันจะเอนมาเอง จิ ตเลื่ อนลงมา ถึ งอารมณ์คิ ดได้ อารมณ์คลายตั้งอยู่ในอารมณ์ พรหมวิหาร ๔ แล้วคิดถึง มรณานุสสติ คิดว่ า เราอาจตายเดี๋ยวนี้ก็ได้ ถ้าได้ “มโนมยิทธิ” ให้เอาใจไปตั้ งอยู่พระนิพพาน ส�ำหรับผู้ ที่เข้ าป่าลึก ให้ติดต่อกับเทวดาเป็นปกติ ระหว่าง คุยกับเทวดากับพรหม กิเลสจะไม่เกาะจิต ต้องภาวนาบารมี ๓๐ ทัศ และการคุมอารมณ์ ต้ องเข้ มแข็ง จึ งจะเอาตัวรอด มิ ฉะนั้ น อาจจะถูกทดสอบอารมณ์ จากภัยที่ ไม่เห็นตัว บทสวดมนต์ การปฏิ บัติ ธุดงค์นี้ พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านยังได้แนะน�ำ ต่อไปอี กว่า ก่อนที่ จะเข้าไปอยู่ในที่ ใด จะเข้าป่าก็ดี บ้านร้างก็ดี ในถ�้ ำ ก็ดี ในหุบเขาก็ดี ก่อนที่ จะเข้าไปถึ งที่ นั่น ให้แผ่บทเมตตาจิ ตด้วยบท “เมตตัญจะ” (อยู่ตอนท้ายขอบทกรณียเมตตสูตร) แล้วตั้งใจไว้ว่า
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz