หลักการปฎิบัติธุดงควัตร

44 หลักการปฏิบัติธุดงค์ ๔. มี อาหาเรปฏิ กูลสัญญา ๕. มี มรณานุสสติ กรรมฐาน ๖. มี อุปสมานุสสติ กรรมฐาน คื อ ถื อพระนิ พพานเป็นอารมณ์ จิ ตจะต้องทรงฌานอยู่ตลอดเวลา ทั้ งเวลาว่างและไม่ว่าง ยาม ที่ นั่งคุยกันใช้ อารมณ์ อยู่ ใน “อุปจารสมาธิ ” เป็นอย่ างต�่ำ เวลามี ภาระ จะพึ งเกิ ดขึ้ น ก็ต้องใช้อารมณ์อย่างน้อยก็ “อุปจารสมาธิ ” เดิ นไปจาก ที่ไม่มีใครคุย ใช้อารมณ์อย่างต�่ำขั้น “ปฐมฌาน” นี่เฉพาะ.. “จิต” นอกจากนั้ น “จิ ต” จะต้ องเห็นว่ าร่ างกายนี้ ไม่ ใช่ ของเรา อยู่ ตลอดเวลา คิดว่ าโลกนี้ เป็นทุกข์ เทวโลกเป็นทุกข์ พรหมโลก เป็นทุกข์ และไม่พ้นทุกข์ เราไม่ต้องการโลกทั้งสาม เราไม่พอใจใน ร่างกายของเรา คือ ไม่สนใจร่างกายของเราด้วย ไม่สนใจร่างกาย ของบุคคลอื่ นด้วย ไม่ต้องการทุกสิ่ งทุกอย่างในโลกด้วย อย่างนี้ เป็น “อารมณ์ของนักธุดงค์” ทั้ งในวัดและในป่า ค�ำสั่งพิเศษ เป็นอันว่า พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ได้แนะน�ำวิ ธี ฝึกไว้อย่าง ละเอียด เพื่ อไว้เป็นแบบฉบับในการปฏิ บัติ เพราะการจัดงานธุดงค์นี้ เป็นการจัดกิ จกรรมหลังจากท่ านมรณภาพไปแล้ ว คื อ เริ่ มงานครั้ งแรก เมื่ อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ทั้ งนี้ เป็นไปตามความประสงค์ ของท่ านทุกประการ ตามที่ท่านได้เตรียมการไว้ให้ตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่ คือ นอกจาก จะมีค�ำแนะน�ำไว้ แล้ ว ท่านยังได้ เตรียมสถานที่ไว้ฝึ กธุดงค์ อีกด้ วย ตามที่ จะได้เล่าดังต่อไปนี้ คื อ

RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz