หลักการปฎิบัติธุดงควัตร
หลักการปฏิบัติธุดงค์ 43 เราขึ้ นรถ เรายอมลงปลายทางแล้ วก็เดิ นต่ อไป ใครเขาสงสาร ซื้ อตั๋ วให้ ก็ซื้ อแต่ ตั๋ ว.. อย่ ารับเงิ น หมดระยะแค่ ไหน.. ลงแค่ นั้ น วันนั้ นแกมาที่ วัด ญาติ โยมจากจังหวัดสุพรรณบุรี มา จะออกเงิ นค่ าตั๋ วรถให้ แกจะไม่ ยอมรับ บอก.. คุณอย่ าไปปิ ด ความดี ของคนอื่ น เขาส่ งเราไปถึ งไหน นั่นเป็นความดี ของเขา “ยานะโท สุขะโท โหติ ” การให้ยวดยานพาหนะ ชื่ อว่าให้ความสุข เราต้องสงเคราะห์ญาติ โยม เมื่ อหมดระยะทางเราก็เดิ น นี่ เห็น มี อยู่ชุดเดียว นอกจากนั้ นพวกธุดงค์รับดะหมด ให้เงิ นก็รับ ให้ของก็ รับ ให้พระพุทธรูปก็รับ อย่างนี้มันธุดงค์ลงนรกหลอกลวงชาวบ้าน และการธุดงค์นี่ จะต้องปักกลดห่างจากบ้านไม่น้อยกว่า ๑ กิ โลเมตร ถ้าใกล้กว่านั้ นไม่ได้ ทั้ งนี้ เพราะต้องการ กายวิ เวก เพื่ อเป็น จิ ตวิ เวก นักธุดงค์ที่ ปักกลดใกล้ ๆ บ้าน มันไม่ใช่นักธุดงค์ มันขอทาน อย่ างนี้ ชาวบ้ านไม่ ควรจะใส่ บาตรให้ เพราะท�ำลายแบบฉบับที่ ดี ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สรุปอารมณ์ของนักธุดงค์ เป็นอันว่ า การปฏิ บัติ ธุดงค์ ขอกล่ าวโดยย่ อเพี ยงเท่ านี้ สรุปแล้วว่า ๑. จะต้องมี พรหมวิ หาร ๔ เป็นปกติ ๒. ตัดปลิ โพธิ ความกังวล ๓. พยายามระงับนิ วรณ์ ๕
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz