หลักการปฎิบัติธุดงควัตร

หลักการปฏิบัติธุดงค์ 35 ต่อจากนั้ นไปก็เจริ ญสมาธิ ความจริ งแค่นี้ พอแล้ว พออารมณ์ จิตทรงได้ แค่นี้มันเป็น ปฐมฌาน แล้ ว สามอย่ างถ้ าทรงได้ นี่เป็น ปฐมฌานแล้ว ก็เหลื อแต่ว่าจะท�ำฌานที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ให้มันเกิ ดขึ้ น จะท�ำ “อรูปฌาน” คื อ อากาสานัญจายตนะ วิ ญญาณัญ จายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มัน เกิ ดขึ้ นเป็นอรูปฌาน ในเมื่ องจิ ตทรงฌานที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ ที่ ๖ ที่ ๗ ที่ ๘ ได้ ก็ต้องตั้ งจิ ตให้มันทรงจริ ง ๆ เป็นประจ�ำวัน เวลาใด ที่นั่งอยู่ ท�ำจิตสงัดทรงก�ำลังสมาธิ ให้มันถึงที่สุดของอารมณ์สมาธิ ที่ มี อยู่ เวลาที่ เราจะเดิ นไปไหนท�ำกิ จธุระ จิ ตจะตั้ งไว้อย่างน้อยอยู่ใน “อุปจารสมาธิ ” หรื อ “ปฐมฌาน” อุปจารสมาธิ ก็ดี ปฐมฌานก็ดี สองอย่างนี้ เวลาท�ำงานเราใช้ได้ จิตทรงอยู่ได้ ต้องฝึ ก.. อย่าไปนั่งฝึ กเงียบอยู่ในห้อง ออกมาได้ยิน ใครเขาคุยกัน.. พังแล้ว อันนี้ ใช้ไม่ได้ มันต้องต่อสู้ทั้ งเวลาสงัด เวลา เสียงจ๊อกแจ๊กจอแจ ท�ำกิจการงานทุกอย่างใช้จิตทรงฌานได้ด้วย ฌานนี่ เขาไม่ ได้ ไปนั่งทรงอยู่ ในห้ องเวลาดึ ก ๆ ไม่ ใช่ อย่ างนั้ น ถ้ าทรงอยู่ อย่ างนั้ น ยังไม่ พ้ นปากเสือ คือ “นรก” เรา จะรู้ ได้ ยังไงว่ าเราจะตายเวลาไหน ดี ไม่ ดี เราเดิ นไปถูกงูกัด ตาย รถชนตายว่ าไง จิ ตทรงฌานไม่ ได้ ฌานมันจะต้องทรงได้ ทุกขณะจิ ตที่ เราก�ำลังท�ำงานอยู่.

RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz