หลักการปฎิบัติธุดงควัตร
34 หลักการปฏิบัติธุดงค์ ภาวนามัย บุญส�ำเร็จด้วยการภาวนา ทานมัย ไม่ มี ของให้ ท�ำกิ จการงานเป็นการสงเคราะห์ จัดเป็นทาน ให้ แรงเป็นทาน ให้ ปัญญาเป็นทาน นี่ เขาต้ องท�ำ อย่ างนี้ ตัดปลิ โพธิ คื อความกังวลทั้ งหมด แม้ แต่ ร่ างกายก็ไม่ ห่ วง มันจะพังก็เชิ ญพังไป มันตายเสี ยเวลานี้ เราจะไปนิ พพาน อะไรที่เป็นทรัพย์สมบัติทั้งหลายที่มีอยู่ไม่เกี่ยว ร่างกายเรา ยังไม่ห่วงนี่ ถ้ายังมีห่วงอยู่นิดหนึ่งอย่าไปเลยธุดงค์ แม้การปฏิบัติ กรรมฐานธุดงค์ ในวัดก็ไม่ มี ประโยชน์ ถ้ ายังบอกว่ าห่ วงหน้ าห่ วง หลัง ห่วงบ้านห่วงช่อง ห่วงลูกห่วงเต้า ไม่มี ประโยชน์ เวลาที่ ปฏิ บัติ จิตในสมาธิจิต จิตจะต้องไม่ห่วงอะไรทั้งหมดแม้แต่ชีวิตของตัวเอง นี่ เป็นอันดับที่ สองนะ นักธุดงค์จะต้องจ�ำ อันดับที่ สาม จะไม่ยอมเป็นทาสของ นิ วรณ์ ๕ ประการ คื อ จะไม่ติดอยู่ใน กามฉันทะ รูปสวย เสียงเพราะ กลิ่นหอม รสอร่อย สัมผัสระหว่างเพศ จะไม่มี ในอารมณ์ของนักธุดงค์ ปฏิฆะ คื อ ความ โกรธ ความพยาบาท จองล้างจองผลาญต้องไม่มี ความง่วงในขณะ ที่ ปฏิ บัติ ความดี เราไม่ยอมมัน และจะไม่ ยอมให้ จิ ตใจคลายออกจากอารมณ์ ของความ ดี ที่ เราตั้ งไว้ ไม่ สงสัยคุณธรรมที่ พระพุทธเจ้ าทรงสั่งสอน อัน นี้ เป็นอันดับที่ สาม ที่ นักธุดงค์ จะต้ องท�ำประจ�ำจิ ตให้ มัน ทรงตัว สามอย่ างนี้ ทิ้ งอะไรไม่ ได้ เลย อย่ าไปทิ้ งนะ ทิ้ ง.. ตาย!
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz