หลักการปฎิบัติธุดงควัตร

หลักการปฏิบัติธุดงค์ 33 ก็ไม่มีสัตว์ตนใดที่มันจะฆ่าเราด้วย อย่างกับ “ไก่ป่า” นี่เป็นสัตว์ที่ เปลี่ยวไม่ต้องการให้คนพบ จิตเราทรงพรหมวิหาร ๔ ไก่ป่าไม่หนี นั่ง ๆ อยู่ดี ไม่ดี ไก่ป่ามาเล่นด้วย อย่างนี้ นักธุดงค์ เข้าป่าไม่ต้องหา คาถา มัวหาคาถามันยัง มี กิ เลส หาคาถาอาคมนี่ แสดงว่าจิ ตยังมี กิ เลสมาก ยังไม่พ้นปากเสือ เสือตัวใหญ่ ที นี้ หากว่าเราอยู่ในบ้าน อยู่ในวัด อยู่ในวัดถ้าเรายังหา คาถา อาคม ขาดพรหมวิ หาร ๔ ก็แสดงว่ าเราก็ไม่ พ้ นปากเสือเหมือน กัน เสือตัวใหญ่ คือ โลภะ หรือว่ า ราคะ โทสะ โมหะ เสือตัว ใหญ่ ๔ ตัวนี่ได้แก่ “กิเลส” รากเหง้าของกิเลสมันจะกินเอา เป็น อันว่าธุดงค์ในป่าก็ดี ธุดงค์ในบ้านก็ดี ธุดงค์ในเมืองก็ดี ก็เหมื อนกัน จะต้องมีอารมณ์ทรงพรหมวิ หาร ๔ เป็นปกติ ประการที่สอง ต้องตัดปลิ โพธิ ปลิ โพธิ คื อ ความกังวล ห่วง ทรัพย์ ห่วงสิน ห่วงบ้าน ห่วงช่อง ห่วงโน่น ห่วงนี่ ตัวห่วงทั้งหมดนี่ โยนมันทิ้ งไป ซึ่ งเป็นของส่วนตัว ห่วงผัวห่วงเมี ย ห่วงลูกห่วงเต้า ห่วง นั่นห่วงนี่ ถ้ายังมี จิ ตห่วงอยู่ ไม่มีทาง..เสื อกิ น! เสื อในป่าไม่เป็นไร เสื อ กิเลสมันกิน ต้องตัดปลิโพธิอื่นทั้งหมด แม้แต่ร่างกายเราก็ไม่ห่วง เราจะท�ำแต่ความดี ความดี อย่างต�่ำก็คื อ ทานมัย บุญส�ำเร็จด้วยการบริ จาคทาน สี ลมัย บุญส�ำเร็จด้วยการรักษาศี ล

RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz