หลักการปฎิบัติธุดงควัตร

หลักการปฏิบัติธุดงค์ 31 การสงัดอยู่ คนเดียวในป่ านั่นมันไม่ จริง ถ้ าจริงต้ องสงัดอยู่ ในฝูงกลุ่มคน เป็นที่เกลื่อนกล่นไปด้ วยประชาชนและก็ต้องสัมผัส อารมณ์ ต่ าง ๆ ในเมื่ อสัมผัสอารมณ์ ต่ าง ๆ แล้ วฌานสมาบัติ เราไม่ เคลื่อน..อย่ างนี้ ใช้ ได้ ต้ องให้ มันได้ จริ ง ๆ แบบนี้ จิ ตสงัด ก็หมายถึงว่า ได้ฌานสมาบัติ อารมณ์ของนักธุดงค์ นักธุดงค์จริง ๆ เขามีอารมณ์ยังไง ในด้านสงัดจิต.. อันดับ แรก จิ ตของเราจะต้องทรงอยู่ใน พรหมวิ หาร ๔ อยู่ตลอดเวลา ค�ำ ว่า “ตลอดเวลา” นี่ต้องทุกลมหายใจเข้าออก นี่ไม่ใช่นั่งนึก เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ไม่ใช่อย่างนั้น ให้จิตมันทรงตัวอยู่เสมอว่า เราต้องการให้ชาวโลกและสัตว์โลกทั้งหมดมีความสุขชาวโลกและ สัตว์โลกผู้ใดมีความทุกข์ ถ้าไม่เกินวิสัยที่เราจะช่วยได้ เราจะช่วย ให้มีความสุข เราจะไม่อิจฉาริษยาใคร คนอื่นได้ดีพลอยยินดีด้วย เราจะวางเฉยในเมื่อกฎของกรรมมันเข้ ามาถึง อารมณ์ ของเราจะ ไม่ดิ้นรน ในเมื่อกฎของกรรมเข้ามาถึง หนาวจัด..เฉย ร้อนจัด..เฉย เมื่ อย..เฉย ป่วย..เฉย ค�ำว่า “เฉย” หมายความว่า “ใจเฉย” ถื อว่า เป็นเรื่ องธรรมดา เขาชมก็เฉย.. อารมณ์อย่างนี้ จะต้องมี กับนักธุดงค์ ค�ำว่า ธุดงค์ นี่ หมายความว่า ผู้เจริ ญ สมถวิ ปัสสนา ทั้ งหมด เรี ยก ธุดงค์ ทั้ งนั้ น คนที่ เจริ ญสมถวิ ปัสสนาทั้ งหมด ทั้ งผู้หญิ งผู้ชาย เวลานี้เราท�ำกันนะ เป็นธุดงค์อย่างดี ที่เราท�ำกันนี้ไม่ต้อง “เดินดง”

RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz