หลักการปฎิบัติธุดงควัตร
26 หลักการปฏิบัติธุดงค์ เพราะร่างกายนี่ มันไม่เที่ ยง ขันธ์ ๕ คื อ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิ ญญาณ ที่ ประกอบไปด้วย ธาตุ ๔ และก็มี วิ ญญาณธาตุ เข้ามาอาศัยมี อากาศธาตุ มาบรรจุให้เต็ม เป็นเรื อนร่างที่ อาศัยของ จิ ตชั่วคราว มันมี ความเกิ ดขึ้ นในเบื้ องต้น แล้วเสื่ อมไปทุกวันและตาย ในที่สุด ร่างกายที่ประกอบไปด้วยทุกข์ ความทุกข์ต่าง ๆ ที่มันมีกับ เรา เพราะอาศัยร่างกายเป็นส�ำคัญ ฉะนั้นที่เราปฏิบัติความดีนี้นั้น เราไม่ต้องการร่างกายอย่างนี้ อี ก เรามุ่ งศัพท์ เดี ยวที่ พระอิ นทร์ ตรัสในสมัยที่ องค์ สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงปรินิพพานว่า “เตสัง วูปะสะโม สุโข” ซึ่งแปลเป็นใจความว่า การเข้าไปสงบกายนั้น ชื่อว่ามีความสุข ค�ำว่า “สงบกาย” หมายความว่า เราไม่ต้องการกาย คือ ขันธ์ ๕ อย่างนี้ต่อไป เพราะขันธ์ ๕ มันเป็นปัจจัยแห่งความทุกข์ ขันธ์ ๕ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มี ในขันธ์ ๕ ขันธ์ ๕ ไม่มี ในเรา ตายชาตินี้แล้ว เราก็ปล่อยขันธ์ ๕ ทิ้งไว้เป็นสมบัติของโลก เครื่อง อาภรณ์ เครื่ องประดับต่าง ๆ เราก็ทิ้ งมันไว้ เราไม่ต้องการมันอี ก จิ ต มี ความประสงค์อย่างเดี ยวคื อ พระนิ พพาน นี่ว่ากันถึงว่าเครื่องแต่งกาย ถือผ้า ๓ ผืนนะ อย่าถือส่งเดช ต้องถื อให้มันเป็นกรรมฐาน ถื อ อสุภสัญญา และ ไตรลักษณญาณ แล้วก็ สักกายทิฏฐิ ต้องถือไปถึงจุดนั้น จึงชื่อว่าเป็นธุดงค์แท้ ๆ ทีนี้ ถ้าเราถือ เอกภาชนะ หรือ เอกา “เอกภาชนะ” กิน ภาชนะเดี ยว “เอกา” กิ นเวลาเดี ยว ถื อแค่กิ นแค่นี้ ไม่พ้นหรอก เวลา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz