หลักการปฎิบัติธุดงควัตร

24 หลักการปฏิบัติธุดงค์ “กัสสปะ! ดูก่อน.. กัสสป เวลานี้ ตถาคตก็แก่แล้ว เธอก็แก่แล้ว จงละจากการอยู่ป่าเสี ยเถิ ด จงอยู่ในสถานบ้านเมื อง จงรับสักการะ ที่บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายมีความเลื่อมใสเธอ และชีวิตของ เธอกับชี วิ ตของตถาคตก็ใกล้อวสานแล้ว” พระมหากัสสป ก็ได้กราบทูลองค์สมเด็จพระประทีปแก้วว่า “ภันเต ภควา.. ข้าแต่องค์สมเด็จพระผู้มี พระภาคเจ้าผู้เจริ ญ พระพุทธ เจ้ าข้ า การที่ ข้ าพระพุทธเจ้ าปฏิ บัติ ธุดงควัตรอย่ างนี้ ก็มิ ได้ หมายความว่า จะปฏิ บัติ เพื่ อความดี ของตน..” (ทั้ งนี้ เพราะอะไร.. เพราะพระมหากัสสปเป็นพระอรหันต์ ปฏิสัมภิทาญาณ ความดีของท่านจบกิจพระพุทธศาสนาแล้ว แต่ก็ กราบทูลกับองค์สมเด็จพระประที ปแก้วว่า) “ที่ ข้าพระพุทธเจ้าท�ำอย่างนี้ ก็เพื่ อว่าจะให้เป็นแบบฉบับ ของบรรดาภิกษุทั้งหลายภายหลัง ที่เกิดมาไม่ทันองค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะได้ทราบว่า ในสมัยองค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ยังมี พระคณะหนึ่ งนิ ยม “ธุดงควัตร” เป็น ส�ำคัญ เพื่อเป็นการส่งเสริมบรรดาภิกษุสงฆ์ทั้งหลายเหล่านั้น ประพฤติ ปฏิ บัติ ตาม” ฉะนั้น ธุดงค์แท้ ๆ ตามแบบฉบับ พระมหากัสสปเถระ ก็ คือ แบบของพระพุทธเจ้า นั่นเอง ค�ำว่า “ธุดงค์” แปลว่า องค์ที่ ประกอบไปด้วยความดี ชาวบ้านเขาแปลว่ายังไงก็ไม่รู้ แต่ขอแปล เป็นภาษาไทยว่า “ตั้งใจท�ำความดี ”

RkJQdWJsaXNoZXIy NzAxNDYz